วันพุธที่ 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556

ประวัติและความเป็นมาของคอมพิวเตอร์

ประวัติและความเป็นมาของคอมพิวเตอร์

คอมพิวเตอร์ คืออะไรและประวัติคอมพิวเตอร์มีความเป็นมา
อย่างไร

คอมพิวเตอร์ คือ เครื่องค านวณอิเล็กทรอนิกส์ที่มีการท างานแบบอัตโนมัติ ท าหน้าที่เหมือนสมองกล สามารถ
แก้ปัญหาต่างๆ ทั้งที่ง่ายและซับซ้อนตามค าสั่งของโปรแกรม มาจากภาษาละตินว่า Computare ซึ่งหมายถึง
การนับ หรือ การค านวณ พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 ให้ความหมายของคอมพิวเตอร์ไว้
ว่า "เครื่องอิเล็กทรอนิกส์แบบอัตโนมัติ ท าหน้าที่เหมือนสมองกล ใช้ส าหรับแก้ปัญหาต่างๆ ที่ง่ายและ
ซับซ้อนโดยวิธีทางคณิตศาสตร์" ขั้นตอนการท างานจะประกอบด้วย การรับโปรแกรมและข้อมูลในรูปแบบที่
เครื่องสามารถรับได้ แล้วท าการค านวณ เคลื่อนย้ายเปรียบเทียบ จนกระทั่งได้ผลลัพธ์ตามที่ต้องการ
ขั้นตอนการท างานของระบบคอมพิวเตอร์แบ่งเป็น 3 ขั้นตอนดังนี้

ประเภทของคอมพิวเตอร์ถ้าจ าแนกตามลักษณะ วิธีการท างานภายในเครื่องคอมพิวเตอร์แบ่งได้เป็นสอง
ประเภทใหญ่ คือ แอนะล็อกคอมพิวเตอร์ (Analog Computer) และดิจิทัลคอมพิวเตอร์ (Digital
Computer)
Analog Computer (แอนะล็อกคอมพิวเตอร์)
แอนะล็อกคอมพิวเตอร์เป็นเครื่องค านวณอิเล็กทรอนิกส์ที่ไม่ได้ใช้ค่าตัวเลขเป็นหลักของการค านวณ ไม้
บรรทัดค านวณถือเป็นตัวอย่างหนึ่งของแอนะล็อกคอมพิวเตอร์ โดยใช้ไม้บรรทัดที่มีขีดแสดงต าแหน่งของ
ตัวเลขการค านวณจะใช้ไม้บรรทัดหลายอันมาประกอบเพื่อหาผลลัพธ์ เช่น การคูณ ซึ่งจะเป็นการเลื่อนไม้
บรรทัดหนึ่งให้ไปตรงตามขีดตัวเลขที่เป็นตัวตั้งและตัวคูณในไม้บรรทัดหนึ่ง แล้วไปอ่านผลคูณที่ขีดตัวเลขซึ่ง
อยู่บนอีกไม้บรรทัดหนึ่ง แอนะล็อกคอมพิวเตอร์แบบอิเล็กทรอนิกส์จะใช้หลักการท านองเดียวกัน โดยใช้
แรงดันไฟฟ้าแทนขีดตัวเลขตามแนวยาวของไม้บรรทัด
แอนะล็อกคอมพิวเตอร์จะมีลักษณะเป็นวงจรอิเล็กทรอนิกส์ที่แยกส่วนท าหน้าที่เป็นตัวกระท าและเป็นฟังก์ชัน
ทางคณิตศาสตร์ จึงเหมาะส าหรับงานค านวณทางวิทยาศาสตร์ และวิศวกรรมที่อยู่ในรูปของสมการทาง
คณิตศาสตร์ เช่น การจ าลองการบิน การศึกษาการสั่นสะเทือนของตึกเนื่องจากแผ่นดินไหว เป็นต้น ใน
ปัจจุบันไม่ค่อยพบเห็นแอนะล็อกคอมพิวเตอร์ เพราะผลการค านวณมีความละเอียดน้อย ท าให้มีขีดจ ากัดใช้ได้
กับงานเฉพาะบางอย่างเท่านั้น ปัจจุบันไม่ค่อยพบเห็นแอนะล็อกคอมพิวเตอร์เท่าไรนัก เพราะผลการค านวณ
มีความละเอียดน้อย ท าให้มีขีดจ ากัดใช้ได้เฉพาะงานบางอย่างเท่านั้น
Digital Computer (ดิจิทัลคอมพิวเตอร์)
ดิจิทัลคอมพิวเตอร์เป็นเครื่องค านวณอิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้งานเกี่ยวกับตัวเลข ค่าตัวเลขของการค านวณในดิจิทัล
คอมพิวเตอร์จะแสดงเป็นหลัก แต่จะเป็นระบบเลขฐานสองที่มีสัญลักษณ์ตัวเลขเพียงสองตัว คือ 0 และ 1
เท่านั้น โดยสัญลักษณ์ทั้งสองตัวนี้ จะแทนลักษณะการท างานภายในซึ่งเป็นสัญญาณไฟฟ้าที่ต่างกัน การ
ค านวณภายในดิจิทัลคอมพิวเตอร์จะเป็นการประมวลผลด้วยระบบเลขฐานสองทั้งหมด เครื่องดิจิทัล
คอมพิวเตอร์หรือนิยมเรียกสั้นๆ ว่า คอมพิวเตอร์ ก าลังได้รับความนิยมกันมากในขณะนี้ และพบเห็นอยู่ทั่วไป
ในปัจจุบัน
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
จุดเริ่มต้นในการคิดค้นเครื่องคอมพิวเตอร์นั้นเกิดจากความต้องการในการนับ และคิดค านวณของมนุษย์โดยในยุคแรกคือช่วงคริสต์ศักราช 1200 การคิดค านวณยังไม่ซับซ้อน ในประเทศจีนมีการใช้อุปกรณ์ช่วยในการ
นับที่เรียกว่าลูกคิด (abacus) ต่อมาเมื่อมนุษย์ต้องการการคิดค านวณที่ซับซ้อน และต้องอาศัยเครื่องมือ
ช่วยงานที่มีความสมารถหลากหลาย จึงได้มีการพัฒนาเครื่องช่วยค านวณที่ซับซ้อนแล้วก้าวหน้าขึ้นตามล าดับ
จนกระทั่งในยุคปัจจุบันเรามีเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีความสามารถในการค านวณงานและประยุกต์ใช้งานได้
หลายประเภท เช่น การสื่อสาร การประมวลผลข้อมูลหรือแม้แต่ให้ความบันเทิง นอกจากนั้นรูปลักษณ์ของ
คอมพิวเตอร์ยังพัฒนาจนมีขนาดเล็กง่ายต่อการพกพา

เครื่องค านวณปาสคาลที่คิดค้นโดยเบลส ปาสคาล
การพัฒนาเครื่องค านวณเป็นไปอย่างต่อเนื่องและน่าสนใจ เราสามารถแบ่งลักษณะของเครื่องค านวณที่สร้าง
สร้างขึ้นได้เป็น 2 ช่วง คือ ช่วงแรกที่เครื่องค านวณมีการท างานเป็นกลไกแบบเครื่องจักรกลและค่อยๆ พัฒนา
ถึงปัจจุบันคือช่วงที่เครื่องค านวณหรือเครื่องคอมพิวเตอร์มีการท างานโดยใช้ไฟฟ้าทั้งหมด
ในช่วงแรกที่มีการพัฒนาเครื่องค านวณที่ท างานแบบเครื่องจักรกล เครื่องค านวณที่มีชื่อเสียงใช้ค านวณการ
บวกลบเลขที่แท้จริง ชื่อว่า เครื่องค านวณปาสคาล (Pascal calculator) ทีประดิษฐ์ขึ้นโดยนักคณิตศาสตร์
ชาวฝรั่งเศสชื่อ เบลส ปาสคาล (Blaise Pascal) และต่อมานักคณิตศาสตร์ชาวเยอรมันชื่อ กอดฟริด ฟอน
ไลบ์นิช (Gottfried Von Leibnitz) ได้ประดิษฐ์เครื่องค านวณที่มีความสามารถในการคูณ หาร และหารากที่
สองได้ ชื่อว่าเครื่องค านวณสเต็ป เรคคอนเนอร์ (Stepped Reckconer)

เครื่องค านวณสเต็ป เรคคอนเนอร์
เมื่อความรู้ด้านคณิตศาสตร์พัฒนาต่อไป นักคณิตศาสตร์ต้องการเครื่องมือที่มีความสามารถมากขึ้นเพื่อช่วยใน
การค านวณ ในปี พ.ศ. 2343 นักคณิตศาสตร์ชาวอังกฤษชื่อว่าชาร์ลส์ แบบเบจ (Charles Babbage) ซึ่งได้รับ
การยกย่องว่าเป็นบิดาแห่งคอมพิวเตอร์ได้พัฒนาเครื่องค านวณที่เรียกว่าดิฟเฟอร์เรนซ์เอนจิน (difference
engine) ที่สามารถค านวณตัวเลขของตารางคณิตศาสตร์ เช่น ตรีโกณมิติและลอการิทึมได้และต่อมาได้พัฒนาเป็นเครื่องค านวณที่มีหลักการท างานใกล้เคียงกับเครื่องคอมพิวเตอร์ในปัจจุบัน โดยน าบัตรเจาะรูเข้ามาช่วย
ในการท างาน ตั้งแต่ควบคุมกระบวนการท างาน

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น